Diary notes
No.4
Tuesday 1 September 2558
Summary of academic science experiences for children
สรุปการเรียนวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Gain skills ทักษะที่ได้รับ
การจัดโครงการศึกษาศาสตร์วิชาการ
ภาพ กิจกรรมศึกษาศาสตร์วิชาการ |
- โดย ดร.อภิภู สิทธิภูมิมงคล
การแสดงของนักศึกษาสาขาเอกการศึกษาปฐมวัย ชั้นปีที่ 4
- ชื่อชุดการแสดงระบำดอกบัว
- ชื่อชุดการแสดงสาวอีสานรอรัก
การแสดง สาวอีสานรอรัก |
การนำเสนอนิทรรศการสาขาวิชาเอกจิตวิทยา
การนำเสนอนิทรรศการสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์
การนำเสนอนทรรศการสาขาวิชาพละศึกษา
Adoption การนำไปใช้
- วิธีการค้นหางานในเทคคนิคด้วยวิธีการที่หลากหลาย
- วิธีการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
Teaching Techniques เทคนิคการสอน
- มีการเปิดโอกาสให้เด็กได้ศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติม
- มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย
Teaching evaluation ประเมินการสอน
- เปิดโอกาสการเรียนที่กว้างขึ้น
- ให้ความร่วมมือและสนใจในารจัดกิจกรรม
Support Agency หน่วยงานสนับสนุน
- การนำเสนอหลักการเรียนรู้โดยรุ่นพี่ทุกสาขาของคณะศึกษาศาสตร์
- ผู้เชี่ยวชาญด้านทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
สรุปงานวิจัย
การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
โดย
เอราวรรณ ศรีจักร
บทที่ 1.บทนำ
วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญต่อสังคมโลกในปัจจุบัน ทั้งการคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มัทักษะสำคัญในการค้นหาความรู้ การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ การเรียนรู้ของเด็ปฐมวัยนั้นมาจากการใช้ประสาทสัมผัส เป็นหลักการเรียนรู้ สื่อสำหรับเด็กปฐมวัยมีอยู่หลายชนิด แต่ละชนิดสามารถปรับใช้ได้หลายจุกประสงค์
จุดมุ่งหลายของการวิจัย
1.เพื่อศึกษาระดับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจำแนกรายทักษะหลังารใช้กิจกรรม
2.เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ความสำคัญของงานวิจัย
เพื่อใช้เป็นแนวทางในการใช้แบบฝึกทักษะประกอบการเรียนการสอนเพื่อพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำปรับเด็กปฐมวัย และเป็นแนวทางสำหรับครูในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนโดยการใช้สื่อที่เป็นแบบฝึกทักษะหรือแบบอื่นๆ
ขอบเขตของงานวิจัย
ประชากร นักเรียนชาย-หญิงอายุ 4-5ปี ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในระดับอนุบาลศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 โรงเรียนอนุบาลธนินทร เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย คือ นักเรียนชาย-หญิงอายุ 4-5ปี ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในระดับอนุบาลศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 โรงเรียนอนุบาลธนินทร เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร
บทที่ 2.เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2.เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
3.เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับชุดแบบฝึกทักษะ
บทที่ 3.วิธีดำเนินงานวิจัย
1.การกำหนดประชากรหรือการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
2.การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
3.แบบแผนการดำเนินงานและวิธีดำเนินงานการทดลอง
4.การจัดกระทำหรือการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล
จากการวิเคราะห์ แสดงให้เห็นว่า ทักษะระบวนการทางวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัยที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ เมื่อพิจารณาเป็นรายทักษะ พบว่า หลังารใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ เด็กมีการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์สูงขึ้นกว่าการทดลองในทุกด้าน
บทที่ 5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ
สรุป
1. พัฒนาการทักษะกระบวนการทางวิทยาศาตร์ของเด็กโดยรวม หลังการใช้กิจกรรมการเรียนประกอบชุดฝึกทักษะอยู่ในระดับดีมากและจำแนกรายทักษะ อยู่ในระดับดีมาก 3 ทักษะคือ ทักษะการสังเกต ทักษะการสื่อสาร และทักษะการลงความเห็น และอยู่ในระดับดี 1 ทักษะ คือ ทักษะการจำแนกประเภท
2. พัฒนาารทางทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย หลังการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะสูงขึ้นกว่าก่อนใช้ใกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดฝึกทักษะอย่างสำคัญทางสถิติอยู่ในระดับ .01
แหล่งที่มา : http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ear_Chi_Ed/Arawan_S.pdf
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น