วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2558

มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2558
National Science and Technology Fair.

ณ ชาเลนเจอร์อิมแพ็ค เมืองทองธานี



ภาพการจัดกิจกรรมให้ความรู้ในงาน


ความคิดสร้างสรรค์จากการเล่น Creativity and Play
            ความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่มีอยู่ภายในตัวบุคคล ไม่ใช่เรื่องใกล้ตัวหรือเป็นความสามารถที่จะมีได้ แต่เป็นสิ่งที่ซ่อนตัวอยู่ในทักษะการใช่ชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะความอยากรู้และการลงมือกระทำ เช่นการเล่นของเล่นสามารถจินตนาการให้กับเด็ก




กิจกรรมหมุนพาเพลิน Spin for fun
       ลูกข่างหมุนและตั้งได้อย่างไร What Keeps Spinning Tops Upright?
ปั่นลูกข่างด้วยมือหรือใช้เชือกเหวี่ยงลูข่างหมุนที่แกนกลางขนาดเล็กตัวลูกข่างจึงมีน้ำหนักมาก ทำให้มีความเฉื่อย จึงหมุนได้นานและขณะหมุนเกิดแรงที่ตั้งฉากกับทิศทางการหมุนจึงทำให้ลูกข่างทรงตัวได้ดี

























Diary Notes.
No.15
Tuesday 24 November 2558
Summary of academic science experiences for children.
สรุปการเรียนการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Gain Skills ทักษะที่ได้รับ

   นำเสนองานวิจัยและโทรทัศน์ครู
         -เลขที่ 15 นำเสนองานวิจัย เรื่อง การจัดการเรียนรู้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

         -เลขที่ 24 นำเสนองานวิจัย เรื่อง การศึกษาผลของการจัดรูปแบบการจัดการเรียนแบบเด็กนักวิจัยที่มีต่อทักษะทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

         -เลขที่ 25 นำเสนอโทรทัศน์ครู สอนปฐมวัยด้วยธรรมชาติผสานวิถีพุทธ

Adoption การนำไปใช้
     สามารถนำรูปแบบการเรียนการสอนไปปรับใช้ให้เข้ากับเนื้อหา ใช่เป็นแบบที่เรียนวิทยาศษสตร์ที่มีความเข้าใจได้ง่ายและตรงตัวมากยิ่งขึ้น

Teaching Techniques เทคนิคการสอน
    ใช้ประเด็นคำถามที่เปิด การคิดทางการสอนเชิงวิทยาศาสตร์ที่ทำให้เด็กเกิดความเข้าใจได้ง่ายและสามารถนำไปปรับสอนปรับใช้ให้เข้ากับเนื้อหาและองค์ประกอบของแต่ละหัวข้อของเนื้อหาสาระ

Evaluation ประเมิน
    Self : ตนเอง
             -แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มาเรียนทันเวลา ฟังและแสดงความคิดเห็นในแต่ละประเด็นคำถาม
    Friends : เพื่อน
             -รวมกันตอบคำถามและนำเสนอข้อมูลจากการค้นคว้าที่แต่ละประเด็น แต่งกายเรียบร้อย
    Teacher : อาจารย์
             -ใช้คำถามในการคิด พูดจาสุภาพ แต่งกายเรียบร้อย อธิบายทุกหัวข้อและสาระอย่างละเอียดดี
Diary Notes.
NO.14
Tuesday 17 November 2558
Summary of academic science experiences for children.
สรุปการเรียนการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Gain Skills ทักษะที่ได้รับ

       การทำ Cooking  บัวลอย บลูเบอร์รี่ชีสพาย ไอศครีม

การทำบัวลอย แบ่งออกเป็น 3 ฐาน
         ฐานที่1 การผสมแป้ง

          ฐานที่2 การปั่นแป้งให้เป็นรูปต่างๆพอประมาณ


          ฐานที่3 นำแป้งที่ปั่นเรีบยร้อยแล้วใส่ลงไปในน้ำที่เดือด เมื่อแป้งสุกตักแป้งใส่ในน้ำเชื่อมและน้ำกะทิที่เตรียมไว้


การทำบลูเบอร์รี่ชีสพาย
      วัตถุดิบ 1.ครีมชีส                                          อุปกรณ์ 1.ตะกร้อตีไข่
                   2.โยเกิร์ต                                                       2.ถ้วย
                   3.น้ำมะนาว                                                    3.ช้อน
                   4.น้ำตาลไอซิ่ง                                              4.ถุงพลาสติก                                   
                   5.คุกกี้โอริโอ้                                                
                   6.เนยละลาย
                   7.บลูเบอรี่
                   8.เยลลี่
                   9.ช็อคโกแล็คชิพ
 แบ่งออกเป็น 3 ฐาน
       ฐานที่1 นำโอริโอ้ใส่ถุงทุบละเอียด แล้วใส่เนยที่ละลายไว้


       ฐานที่2 นำครีมชีสมาปรุงรสด้วยโยเกิร์ต น้ำตาลไอซิ่งและน้ำมะนาวเล็กน้อย คนให้เข้ากัน ตักใส่แก้ว


       ฐานที่3 ใส่บลูเบอรี่และตกแต่งด้วยความสวยงาม

การทำไอศครีม (ทำตามแบบอย่างไปพร้อมๆกัน)
วัตถุดิบ 1.นมข้นหวาน                อุปกรณ์ 1.ตะกร้อตีไข่
             2.นมจืด                                      2.ถุงซิปล็อก 2 ใบ ขนาดใหญ่และเล็ก
             3.วิปครีม                                     3.จามใส่ผสม
             4.เกลือ
             5.น้ำแข็ง

ขั้นที่1. แนะนำวัตถุดิบและอุปกรณ์ วิธีการทำไอศครีม

ขั้นที่2. แจกวัตถุดิบและอุปกรณ์และผสมนมจืดกับนมข้นหวานคนให้เข้ากัน


ขั้นที่3. เติบวิปครีมแล้วคนให้เข้ากัน


ขั้นที่4. เติบเกลือปลายช้อนเล็กน้อยและคนอีกครั้ง


ขั้นที่5. เทส่วนผสมทั้งลงไปในถุงเล็กแล้วปิดปากถุงจนสนิท

ขั้นที่6. ตักน้ำแข็งใส่ถุงใหญ่แล้วใส่เกลือเขย่าจนเข้ากัน

ขั้นที่7. นำถุงซิปล็อกที่มีส่วนผสมใส่ไปในถุงใหญ่ปิดปากถุงจนสนิท

ขั้นที่8. เขย่าจนไอศครีมแข็งตัว


Adoption การนำไปใช้
        การสอนให้เด็ได้ลงมือปฏิบัติ การใช่คำถามเพื่อกระตุ้นการสังเกต การทำงานแบบลำดับขั้นตอน การเปลี่ยนแปลงของวัตถุจากของเหลวกลายเป็นของแข็ง การเขียนแผนการสอนที่ถูกวิธี
Teaching Techniques เทคนิคการสอน
        การพูดเสริมหรือแนะนำในข้อเสนอแนะในการสอนเพื่อให้สามารถเข้าใจได้ง่ายและเข้าใจในหลักการทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น และการเรียนตามหลักวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ตรงตัวแต่จะแฝงไปกับวิทยาศาสตร์กับการใช้ชีวิตประจำวันและการเล่นการลองผิดลองถูกของเด็ก
     
Evaluation ประเมิน
    Self : ตนเอง
              ร่วมทำกิจกรรมกับกลุ่มเพื่อน ตั้งใจรับฟัง เตรียมตัวในการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน
    Friends : เพื่อน
                มาเรียนที่ทันเวลา เตรียมตัวมาเป็นอย่างดี มีการสนใจในการทำงานร่วมกับเพื่อนเป็นอย่างดี
    Teacher : อาจารย์
                  เปิดประเด็นในการคิดการสอนการเสนอแนะแผนการสอนการอธิบายเนื้อหาให้เข้าง่ายมากขึ้น
Diary Notes

NO. 13

Tuesday 3 November 2558

Summary of academic science experiences for children.
สรุปการเรียนการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์วิทยาสำหรับเด็กปฐมวัย

Gain Skills ทักษะที่ได้รับ

      อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มกันร่วมกันอภิปรายการทำ Cooking ของแต่ละกลุ่ม
การจัดการเรียนรู้ การเขียนแผนและการเตรียมของสำหรับการสอน และการเขียนแผนที่ประกอบไปด้วย วัตถุประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การบูรณาการ   การสอนที่เกิดการสังเกตและวิธีการสอนในแบบต่างที่มีวิธีการสอนและขั้นตอนการสอนที่แตกต่างกันออกไป


Adoption การนำไปใช้

     นำตัวอย่างแผนหรือรูปแบบการสอนไปเป็นแบบอย่างหรือยกเป็นแบบการสอนในโอกาสต่อไปในวันข้างหน้า การเขียนแผนที่ดีและถูกหลักวิธีการเขียนที่ถูกวิธีต่างหัวข้อและรูปแบบของเนื้อหาที่ทำการสอน

Teaching Techniques เทคนิคการสอน

    การสร้างประเด็นคำถาม การเสนอแนวทางวิธีการสอนตามเนื้อหาและกลุ่มสาระต่างๆที่มีความแตกต่างกันออกไป การให้ข้อเสนอแนะ และการยกตัวอย่างให้เห็น

Evaluation ประเมิน
    Self : ตนเอง มาเรียนทันเวลา แต่งกายเรียบร้อย ร่วมอกความคิดเห็น จดและบันทึกข้อเสนอแนะต่างๆ
    Friends : เพื่อน แต่งกายเรียบร้อย มาเรียนทันเวลา มีความสนใจในการเรียนการทำงานกลุ่ม
   Teacher : อาจารย์ เสนอและออกแนวคิดการจัดกิจกรรมที่ทำให้นัศึกษาได้เห็นภาพในการเรียนการสอนของเด็กปฐมวัย
Diary Notes.
No.12
Tuesday 13 November 2558
Summary of academic science experiences for children.
สรุปการเรียนการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

Gain Skills ทักษะที่ได้รับ
     การทำ Cooking ของ ขนมวาฟเฟิล และข้าวทาโกยากิ

ขนมวาฟเฟิลแบ่งออกเป็น 3 ฐาน

อุปกรณ์1.เตาพิมพ์วาฟเฟิล           วัตถุดิบ1.แป้งวาฟเฟิลสำเร็จ
             2.ถ้วย                                           2.ไข่ไก่
             3.ตะกร้อตีไข่                                3.นม
                                                                  4.น้ำดื่ม
                                                                  5.ของตกแต่ง ,ลูกเกด ,เยลลี่

วิธีการทำ
ฐานที่1.ใสแป้ง นม น้ำดื่ม ไข่ไก่ ตีจนเข้ากัน



ฐานที่2.นำแป้งที่่ผสมกันเข้าที่แล้วไปเทใส่เตาพิมพ์วาฟเฟิล


ฐานที่3.รอจนสุก ตกแต่งตามความชอบ



การทำข้าวทาโกยากิแบ่งออกเป็น 4 ฐาน

อุปกรณ์1.ถ้วย                                                                วัตถุดิบ1.ข้าวสุก
             2.เตาสำหรับทำทาโกยากิ                                            2.ไข่ไก
             3.ตะเกียบ                                                                     3.สาหร่าย
             4.ช้อน                                                                          4.ปูอัด
                                                                                                 5.ซอส
                                                                                                 6.มายองเนส


   วิธีการทำ
ฐานที่1.ตักข้าวสามช้อนผสมกับไข่คนให้เข้ากัน


ฐานที่2.ใส่ไส้ตามใจชอบแล้วปรุงรส


ฐานที่3.นำส่วนผสมที่ได้เทใส่เตาสำหรับทำทาโกยากิ

ฐานที่4.รอจนสุก ตกแต่งตามใจชอบ


นำเสนอแผนการสอนการทำ Cooking และแผนการทดลอง





Adoption การนำไปใช้
       นำรูปแบบการเขียนแผนที่ถูกวิธีไปเป็นหลักในการเขียนการเรียนการสอนในครั้งถัดไป และเลือกเรื่องหรือรูปแบบการสอนของกลุ่มเพื่อนใช้เป็นตัวอย่างการสอน ข้อเสนอแนะและการทำในรูปแบบของชนิดอาหาร

Teaching Techniques เทคนิคการสอน
     ให้ข้อเสนอและการเขียนแผนที่ถูกวิธี การสอนที่ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้และเข้าใจในหลักการทางวิทยาศาสตร์การสอนที่เชื่อมโยงทางหลักการทางวิทยาศาสตร์

Evaluation ประเมิน
Self  : ตนเอง  มาเรียนทันเวลา แต่งกายเรียบร้อย ฟัง จดบันทึกการเขียนแผน และร่วมกันตอบคำถาม
Friends เพื่อน : ช่วยกันตอบคำถาม หาแนวทางและวิธีการสอนที่ตรงตามหลักการทางวิทยาศาสตร์
Teacher อาจารย์ : มีข้อเสนอแนะ คำติชม ยกตัวอย่างให้เห็นได้ชัดเจน
Diary Notes.
No.11
Tuesday 21 September 2558

Summary of academic science experiences for children,
สรุปการเรียนการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


Gain Skills ทักษะที่ได้รับ
     กิจกรรมดอกไม้บาน

           การแทนที่ของน้ำ เนื่องจากกระดาษดูดซึมน้ำ เมื่อน้ำเข้าไปแทนที่บริเวณที่มีช่องว่างทำให้กลีบของดอกไม่ค่อยกลีออกมาและบานจนในที่สุด



กิจกรรมหารูที่ไกลที่สุด

           รูที่ไปได้ไกลที่สุดคือรูสุดท้ายล้างสุด เพราะมีความดันแรงมากที่สุดทำใหสามารถนำพาน้ำไปในระยะที่ไกลได้มากที่สุด ส่วนสองรูด้านบทมีแรงดันที่น้อยทำให้นำพาน้ำไปได้ในระยะทางสั้นกว่า


กิจกรรมเป่าเชือกจากหลอด


กิจกรรมเฮลิปคอปเตอร์

กิจกรรมเทียนไขดูดน้ำ

กิจกรรมกระจกสะท้อนแสง


Teach Techniques เทคนิคการสอน
   การสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
   การสอนโดยการคิดแบบรวบยอด
   การสอนโดยใช้การทอลอง
   การสอนโดยใช้ตัวอย่าง

Application การประยุกต์ใช้
   นำไปเป็นแบบการเรียนการสอนกับเด็กปฐมวัยในการเรียนการสอนการเสริมประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กในวันข้างหน้า

วันพุธที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2558

Diary Notes.
No. 10
Tuesday 20  September 2558
Summary of academic science experiences for children.
สรุปการเรียนการจัดประสบการวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

Gain Skills ทักษะที่ได้รับ

  นำเสนองานวิจัย
     - เลขที่ 11 เรื่อง ทำอาหารกิจกรรมส่งทักษะทางวิยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
     - เลขที่ 12เรื่อง เรียนรู้ อยู่รอด

  นำเสนอของเล่น 3 ชิ้น (งานกลุ่ม)
       - ของเล่นที่เด็กสามารถทำเองได้ : เรือน้อยลอยไป
       - ของเล่นที่เข้ามุม : จับคู่เสียง
       - ของเล่นที่เป็นการทดลอง : จรวดลูกโป่ง

1.ของเล่นที่เด็กสามารถทำเองได้ : เรือน้อยลอยไป

อุปกรณ์
           1.ฟองน้ำ
           2. ไม่ไอติม
           3.สก็อตเทป
           4.คัตเตอร์
           5.กระดาษสีแบบแข็ง
           6.กรรไกร

                             วิธีทำ

1.นำฟองน้ำมาตัดเป็นรูปบ้าน




2.เจาะรูตรงกลางให้สามารถเสียบไม้ไอติมได้



3.นำสะก็อตเทปและกระดาษสีมาติดไม้ไอติมทำเป็นเรือใบ


4.นำเรือใบมาเสียบติดกับฟองน้ำ

ประสบการ์ที่เด็กจะได้รับ
          การที่วัตถุสามารถลอยตัวอยู่ในน้ำได้ เนื่องจากวัตถุมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำ และน้ำมีแรงดัน จึงสามารถลอยวัตถุให้ขึ้นมา โดยแรงนี้เรียกว่าแรงลอยตัวหรือแรงพยุง ซึ่งจะขึ้นอยู่กับปริมาณของน้ำที่ถูกวัตถุนั้นแทนที่ ยิ่งวัตถุมีพื่นที่ใกล้กับน้ำมากเท่าไหร่ หรือเข้าไปแทนที่น้ำได้มาก ความหนาแน่นของวัตถุจะลดลงและแรงลอยตัวจะเพิ่มขึ้น วัตถุจึงลอยตัวในน้ำได้


2.ของเล่นเข้ามุม : จับคู่เสียง


อุปกรณ์
          1. ขวดยาคูลท์และขวดนมเปรี้ยว
          2. ข้าวสาร
          3.ลูกปัด
          4.กระดม
          5.ถั่วเขียว
          6.สก็อตเทป
          7. กาว 
          8.กรรไกร

วิธีการทำ
1.นำขวดนมเปรี้ยวและขวดยาคูลท์ใส่ข้าวสาร ลูกปัด กระดุม และถั่วเขียวให้ครบทุกขวด

2.ปิดฝาขวดยาคูลท์และขวดนมเปรี้้ยวด้วยส๊อตเทปให้เรียบร้อย

3.ทำกล่องใส่สำหรับอุปกรณ์

4.นำกระดาษสีมาตกแต่งให้สวยงาม

ประสบการณ์ที่เด็กจะได้รับ
           เสียงเกิดจากการสั้นสะเทือนของวัตถุ ที่เสียงมีความแตกต่างกันเพราะวัตถุข้างในมีขนาดที่แตกต่างกัน เด็กจะได้เรียนรู้ทางด้านสติปัญญาเรื่องการเปรียบเทียบของเสียง และสามารถจับคู่เสียงได้


3.ของเล่นที่เป็นการทดลอง : จรวดลูกโป่ง


อุปกรณ์
        1. หลอด 
        2.ลูกโป่ง
        3.เชือก
        4.คลิปหนีบ
        5.สก็อตเทป

วิธีการทำ

1.นำเชือกร้อยเข้าไปในหลอด



2.เป่าลูกโป่ง

3.นำลูกโป่งที่เป่าไว้มาติดกับหลอดใช้สก็อตเทปเป็นตัวเชื่อม
4.ให้คนสองคนเชือกทั้งสองฝั่ง คนที่จับลูกโป่งทำการปลอยลูกโป่ง


ประสบการณ์ที่เด็กจะได้รับ
         ลมที่เป่าเข้าไปในลูกโป่ง จะกลายเป็นพลังงานที่เก็บสะสมไว้ เมื่อพลังงานศักย์ที่เราเป่าลมเก็บไว้ในลูกโป่งและเมื่อเราทำการปล่อยลูกโป่ง พลังงานที่สะสมเก็บไว้จะกลายเป็นพลังงานจลน์ ทำให้ลูกโป่งเกิดการเคลื่อนที่